สมัชชาความมั่นคงทางอาหาร ประจำปี 2558
‘สิทธิและประชาธิปไตยทางอาหาร’
วันที่ 18 – 19 สิงหาคม 2558 ณ คอนเว็นชั่นเซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์
วันที่/เวลา | กิจกรรม |
วันอังคารที่ 18 สิงหาคม 2558 | |
08:00 – 08:30 น. | ลงทะเบียน ชี้แจงวัตถุประสงค์ และกำหนดการ |
08:30 – 09:00 น. | การแสดงเปิดงาน โดย วงดนตรีซุมข้าวแลง อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี |
09:00 – 09:30 น. | สถานะและสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหาร 2558โดย ขวัญชัย หมื่นยิ่ง มูลนิธิชีววิถี และ เกียรติศักดิ์ ยั่งยืน มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน(ประเทศไทย) |
09:30 – 10:10 น. | อภิปรายนำ “ประชาธิปไตยด้านอาหาร” โดย วิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ ผู้อำนวยการมูลนิธิชีววิถี |
10:10 – 10:30 น. | พักรับประทานอาหารว่าง |
10:30 – 11:00 น. | พ.ร.บ.ความปลอดภัยทางชีวภาพ : เปิดทางจีเอ็มโอหรือปกป้องประโยชน์สาธารณะ โดย ผศ.ดร.สมชาย รัตนชื่อสกุล คณะนิติศาสตร์ ม.หอการค้าไทย |
11:00 – 11:40 น. | |
ฐานทรัพยากรเพื่อความมั่นคงทางอาหาร ประเด็นการจัดการน้ำอภิปรายนำ “วิเคราะห์และข้อเสนอแนะแนวทางบริหารจัดการน้ำที่ยั่งยืน” โดย รศ.ดร.เสรี ศุภราทิตย์ ศูนย์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติ มหาวิทยาลัยรังสิต | |
11:40 – 12:30 น. | เสวนาการจัดการน้ำ : มุมมองและข้อเสนอจากชุมชนนำร่องการเสวนาโดยวิชิต อุตสาหประดิษฐ์ กำนันตำบลบางชะนี อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยาเกษมชัย แสงสว่าง แกนนำชุมชนบ้านหนองกระโดนมน อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี ดำเนินการเสวนา โดย ดร.กฤษฎา บุญชัย |
12:30 – 13:30 น. | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13:30 – 15:00 น. | ประธานการอภิปราย : ดร.กฤษฎา บุญชัยประเด็นการจัดการที่ดินสถานการณ์ปัญหาที่ดินและข้อเสนอเพื่ออนาคตเกษตรกรรายย่อย โดย พรพนา ก๊วยเจริญ Land Watchกรณีศึกษา โดย สวาท อุปฮาด เครือข่ายไทบ้านผู้ไร้สิทธิ์ จ.สกลนครวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อเสนอ โดย รศ.ดร.ประภาส ปิ่นตบแต่ง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
15:00 – 15:30 น. | พักรับประทานอาหารว่าง |
15:30 – 17:00 น. | |
ระบบการผลิตการเกษตรและอาหาร ประธานการอภิปราย : วิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญทิศทางของระบบเกษตรและอาหารอนาคตเกษตรกรรมไทยในมุมมอง “เกษตรเชิงนิเวศ” โดย วิฑูรย์ ปัญญากุล มูลนิธิสายใยแผ่นดินอนาคตเกษตรกรรมไทยในมุมมอง “เกษตรอัจฉริยะ” โดย ผศ.ดร.ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลบทบาทของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารกับความมั่นคงทางอาหาร โดย อาจารย์ไพสิฐ พาณิชย์กุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | |
วันพุธที่ 19 สิงหาคม 2558 | |
09:00 – 10:30 น. | ชุมนุมชาวนานักปรับปรุงพันธุ์ : บทเรียนและข้อเสนอแนะการพัฒนาพันธุ์พืชดาวเรือง พืชผล เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก จ.ยโสธรแดง หาทวี เครือข่ายอนุรักษ์และพัฒนาพันธุ์ข้าวพื้นบ้าน อ.สว่างวีระวงศ์ จ.อุบลราชธานีชาญชัย หอมเย็น คณะกรรมการอนุรักษ์พันธุ์ข้าวพื้นเมือง จ.นครสวรรค์หวัน เรืองตื้อ เครือข่ายฮักเมืองน่าน จ.น่านหม้อหราด หวังสบ เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก จ.กระบี่ |
10:30 – 11:00 น. | พักรับประทานอาหารว่าง |
11:00 – 12:30 น. | |
ตลาดเขียวเกษตรกรกับระบบอาหารในตลาดสมัยใหม่ประธานการอภิปราย : กิ่งกร นรินทรกุล ณ อยุธยาประสบการณ์และบทเรียนตลาดเขียว ตลาดท้องถิ่นของเกษตรกรตลาดอินทรีย์ เชียงใหม่ โดย เกษศิรินทร์ พิบูลย์ สถาบันชุมชนเกษตรกรรมยั่งยืนตลาดเขียวยโสธร โดย สยาม หยองเอ่น เครือข่ายเกษตรทางเลือก จ.ยโสธรตลาดเขียวกรุงเทพมหานคร โดย วัลลภา แวนวิลเลียนส์วาร์ด บริษัทสวนเงินมีมาตลาดภูมิปัญญา หลาดใต้โหนดพัทลุง โดย ประไพ ทองเชิญ โครงการกินดีมีสุข จ.พัทลุงตลาดเขียว อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา โดย พลูเพ็ชร สีเหลืองอ่อน | |
12:30 – 13:30 น. | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13:30 – 15:00 น. | พัฒนาการจากตลาดท้องถิ่นสู่เศรษฐกิจอาหารในโลกยุคใหม่ศักยภาพการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากฐานทรัพยากรและผลผลิตจากท้องถิ่น โดย ผศ.ดร.ปิยะศักดิ์ ชอุ่มพฤกษ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเชื่อมร้อยชาวนากับผู้บริโภคทั่วโลกด้วยตลาดออนไลน์ โดย อนุกูล ทรายเพชร Folk Riceจากตลาดเกษตรกรสู่การพัฒนาระบบเศรษฐกิจอาหารท้องถิ่น โดย อุบล อยู่หว้า เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือกวิเคราะห์และเสนอแนะ โดย ดร.เดชรัต สุขกำเนิด |
15:00 – 15:30 น. | สรุปสังเคราะห์ประเด็นในสมัชชาเรื่องสิทธิและประชาธิปไตยด้านอาหาร โดย ดร.กฤษฎา บุญชัย |
ผู้ประสานงานสมัชชาความมั่นคงทางอาหาร ประจำปี 2558
สุวารี พัดเย็น โทร.02-985 3838 โทรสาร 02-985 3836